Jannah Theme License is not validated, Go to the theme options page to validate the license, You need a single license for each domain name.
ข่าวรายวันและอัพเดทข่าวเทรนด์

ผู้ที่มีความสามารถประดิษฐ์คิดค้นกระทง เป็นคนแรก คือใคร – เราเป็นกลุ่มเพื่อนที่รักการเขียนและแบ่งปันเรื่องราวของเรา เราผ่านอะไรมาด้วยกันมากมาย และเราต้องการแบ่งปันประสบการณ์ของเรากับคนทั้งโลก เราหวังว่าเรื่องราวของเราจะสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้อื่นได้ใช้ชีวิตที่ดีที่สุด

Two-Column Responsive Layout

เราเป็นกลุ่มเพื่อนที่รักการเขียนและแบ่งปันเรื่องราวของเรา เราผ่านอะไรมาด้วยกันมากมาย และเราต้องการแบ่งปันประสบการณ์ของเรากับคนทั้งโลก เราหวังว่าเรื่องราวของเราจะสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้อื่นได้ใช้ชีวิตอย่างดีที่สุด

เราเริ่มต้นบล็อกนี้เพราะเราหลงใหลเกี่ยวกับประเทศไทยและวัฒนธรรมไทย เราต้องการแบ่งปันความรักของเราที่มีต่อประเทศนี้กับคนทั่วโลก และช่วยให้ผู้อื่นได้สัมผัสกับความงามของประเทศไทยผ่านงานเขียนของเรา ตั้งแต่นั้นมา บล็อกของเราได้กลายเป็นแหล่งข่าวประจำวันและหัวข้อยอดนิยมในประเทศไทย ผู้อ่านของเราไว้วางใจเราในการรายงานอย่างตรงไปตรงมาและเป็นกลางเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศ

ผู้ที่มีความสามารถประดิษฐ์คิดค้นกระทง เป็นคนแรก คือใคร, /%e0%b8%9c%e0%b8%b9%e0%b9%89%e0%b8%97%e0%b8%b5%e0%b9%88%e0%b8%a1%e0%b8%b5%e0%b8%84%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b8%aa%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%96%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%94,

Video: เพลงนี้ขอโทษกี่ครั้ง – N/A (เนื้อเพลง)

เราเริ่มต้นเว็บไซต์นี้เพราะเรารักประเทศไทยและเราต้องการแบ่งปันความรักของประเทศของเรากับคนทั่วโลก เราคิดว่าประเทศไทยเป็นสถานที่ที่สวยงามและน่าสนใจที่สุดแห่งหนึ่งของโลก และเราต้องการที่จะแสดงให้ผู้คนเห็นว่าสิ่งใดที่ทำให้ที่นี่มีความพิเศษ

เราอัปเดตไซต์ของเราทุกวันด้วยเรื่องราวและรูปภาพใหม่ๆ เพื่อให้ทุกคนสามารถติดตามข่าวสารล่าสุดเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศไทย เราคือทีมนักเขียนและนักวิจัยที่กระตือรือร้นและมุ่งมั่นที่จะนำเสนอข่าวสารล่าสุดจากประเทศไทยให้กับคุณ ไม่ว่าจะเป็นข่าวด่วน ข่าวซุบซิบ หรือแค่สิ่งที่น่าสนใจที่เราคิดว่าคุณจะชอบ เราจะโพสต์ไว้ในบล็อกของเราอย่างแน่นอน เราอัปเดตทุกวัน ดังนั้นอย่าลืมกลับมาตรวจสอบบ่อยๆ!

ผู้ที่มีความสามารถประดิษฐ์คิดค้นกระทง เป็นคนแรก คือใคร, 2021-12-08, เพลงนี้ขอโทษกี่ครั้ง – N/A (เนื้อเพลง), #เพลงดังในtiktok #เพลงนี้ขอโทษกี่ครั้ง #เนื้อเพลง #N_A

Two-Column Responsive Layout

🙏ขออนุญาตเจ้าของผลงานเพลงด้วยนะคะ

ต้นฉบับ – https://youtu.be/BKmNGsFkG9g

**วิดีโอนี้ จัดทำขึ้นเพื่อความบันเทิงเท่านั้น **ไม่มีเจตนาจะละเมิดลิขสิทธิ์แต่อย่างใด **จัดทำขึ้นเพื่อคนที่อยากฝึกร้องเพลง **จัดทำขึ้นเพื่อโปรโมทเพลงเพราะๆและแนะนำ เพลงของศิลปิล

**หากท่านเจ้าของผลงานไม่ยินดีให้ลงอยากให้ ลบติดต่อมาที่ shutdownstt@gmail.com ทาง เราจะลบออกให้, Lyrics Box Music

,

ศัพทมูลวิทยา[แก้]

รายงานจากพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 คำว่า ลอย หมายถึง ‘อยู่บนผิวน้ำ’ ส่วน กระทง มีหลายความหมาย หนึ่งในนั้นคือ ‘ภาชนะเย็บด้วยใบตองหรือใบไม้ที่สามารถลอยบนน้ำในช่วงเทศกาลลอยกระทง’ มากไปกว่านั้น สำนักงานราชบัณฑิตยสภารายงานคำว่า กระทง มีที่มาจากคำในภาษาจีนเก่าว่า หรือ (/*k-tˤəŋ/) ซึ่งหมายถึงภาชนะพิธีกรรมหรือโคมไฟ[10][11][12][13][14][15]

ประวัติ[แก้]

พลุเฉลิมฉลองในเทศกาลวันลอยกระทงริมแม่น้ำเจ้าพระยา

ประเพณีลอยกระทงเป็นประเพณีโบราณของอินเดียที่ประเทศไทยรับเข้ามาปฏิบัติ แต่ไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าทำกันมาตั้งแต่เมื่อไหร่ เท่าที่ปรากฏกล่าวได้ว่ามีมาตั้งสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสันนิษฐานว่า เดิมทีเดียวเห็นจะเป็นพิธีของพราหมณ์กระทำเพื่อบูชาพระผู้เป็นเจ้าทั้งสาม คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาได้ถือตามแนวทางพระพุทธศาสนามีการปล่อยโคมลอยเพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุพระจุฬามณีในชั้นดาวดึงส์ และลอยกระทงเพื่อบูชารอยพระพุทธบาท ซึ่งประดิษฐาน ณ หาดทรายแม่น้ำนัมมทา (แม่น้ำนัมมทา เป็นแม่น้ำที่คู่ขนานกับทิวเขาวินธัย ไหลลงภาคตะวันตกของอินเดียแบ่งเขตอินเดียออกเป็นภาคเหนือและภาคใต้)

ตำนานที่หาหลักฐานยืนยันมิได้ กล่าวไว้ว่าในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง มีนางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นผู้ประดิษฐ์กระทงขึ้นครั้งแรก โดยแต่เดิมเรียกว่าพิธีจองเปรียง ที่ลอยเทียนประทีป และนางนพมาศได้นำดอกโคทม ซึ่งเป็นดอกบัวที่บานเฉพาะวันเพ็ญเดือนสิบสองมาใช้ใส่เทียนประทีป[ต้องการอ้างอิง] ดังปรากฏในตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์กล่าวถึงพระดำรัสของพระร่วงว่า “แต่นี้สืบไปเบื้องหน้า โดยลำดับกษัตริย์ในสยามประเทศ ถึงกาลกำหนดนักขัตฤกษ์ วันเพ็ญเดือน 12 ให้ทำโคมลอยเป็นรูปดอกบัว อุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานทีตราบเท่ากัลปาวสาน แต่ปัจจุบันมีหลักฐานว่าไม่น่าจะเก่ากว่าสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยอ้างอิงหลักฐานจากภาพจิตรกรรมการสร้างกระทงแบบต่าง ๆ ในสมัยรัชกาลที่ 1 จากนั้นในสมัยรัชกาลที่ 2 ได้เปลี่ยนแปลงจากการทำจากดอกบัวเป็นต้นกล้วยเพราะดอกบัวดังกล่าวหายากและมีน้อย จึงใช้ต้นกล้วยทำแทนแล้วดูไม่สวยจึงใช้ใบตองมาพับแต่งจนสวยสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน

โปรดอ่านเพิ่มเติม ตรวจสอบลิงค์นี้ วันลอยกระทง – วิกิพีเดีย…

ใกล้ถึงเทศกาลวันลอยกระทงกันแล้ว เชื่อว่าหลายคนคงเตรียมตัวไปลอยกระทงที่ใดที่หนึ่งแล้ว แต่ก่อนที่จะไปลอยกระทงกันนั้น เรามาทำความรู้จักประวัติวันลอยกระทงให้ถ่องแท้กันก่อนดีกว่า จะได้เข้าใจถึงจุดมุ่งหมายของประเพณีอย่างแท้จริง

ประเพณีลอยกระทงนั้น ไม่มีหลักฐานระบุแน่ชัดว่าเริ่มตั้งแต่เมื่อใด แต่เชื่อว่าประเพณีนี้ได้สืบต่อกันมายาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง เรียกประเพณีลอยกระทงนี้ว่า “พิธีจองเปรียญ” หรือ “การลอยพระประทีป” และมีหลักฐานจากศิลาจารึกหลักที่ 1 กล่าวถึงงานเผาเทียนเล่นไฟว่าเป็นงานรื่นเริงที่ใหญ่ที่สุดของกรุงสุโขทัย ทำให้เชื่อกันว่างานดังกล่าวน่าจะเป็นงานลอยกระทงอย่างแน่นอน 

ในสมัยก่อนนั้นพิธีลอยกระทงจะเป็นการลอยโคม โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสันนิษฐานว่า พิธีลอยกระทงเป็นพิธีของพราหมณ์ จัดขึ้นเพื่อบูชาเทพเจ้า 3 องค์ คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาได้นำพระพุทธศาสนาเข้าไปเกี่ยวข้อง จึงให้มีการชักโคม เพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และลอยโคมเพื่อบูชารอยพระบาทของพระพุทธเจ้า 

ก่อนที่นางนพมาศ หรือ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ สนมเอกของพระร่วงจะคิดค้นประดิษฐ์กระทงดอกบัวขึ้นเป็นคนแรกแทนการลอยโคม ดังปรากฏในหนังสือนางนพมาศที่ว่า 

          “ครั้นวันเพ็ญเดือน 12 ข้าน้อยได้กระทำโคมลอย คิดตกแต่งให้งามประหลาดกว่าโคมสนมกำนัลทั้งปวงจึงเลือกผกาเกษรสีต่าง ๆ มาประดับเป็นรูปกระมุทกลีบบานรับแสงจันทร์ใหญ่ประมาณเท่ากงระแทะ ล้วนแต่พรรณดอกไม้ซ้อนสีสลับให้เป็นลวดลาย…” 

เมื่อสมเด็จพระร่วงเจ้าได้เสด็จฯ ทางชลมารค ทอดพระเนตรกระทงของนางนพมาศก็ทรงพอพระราชหฤทัย จึงโปรดให้ถือเป็นเยี่ยงอย่าง และให้จัดประเพณีลอยกระทงขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยให้ใช้กระทงดอกบัวแทนโคมลอย ดังพระราชดำรัสที่ว่า “ตั้งแต่นี้สืบไปเบื้องหน้า โดยลำดับกษัตริย์ในสยามประเทศถึงกาลกำหนดนักขัตฤกษ์วันเพ็ญเดือน 12 ให้ทำโคมลอยเป็นรูปดอกบัว อุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานทีตราบเท่ากัลปาวสาน” พิธีลอยกระทงจึงเปลี่ยนรูปแบบตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา 

ประเพณีลอยกระทงสืบต่อกันเรื่อยมา จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น สมัยรัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลที่ 3 พระบรมวงศานุวงศ์ตลอดจนขุนนางนิยมประดิษฐ์กระทงใหญ่เพื่อประกวดประชันกัน ซึ่งต้องใช้แรงคนและเงินจำนวนมาก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงเห็นว่าเป็นการสิ้นเปลือง จึงโปรดให้ยกเลิกการประดิษฐ์กระทงใหญ่แข่งขัน และโปรดให้พระบรมวงศานุวงศ์ทำเรือลอยประทีปถวายองค์ละลำแทนกระทงใหญ่ และเรียกชื่อว่า “เรือลอยประทีป” ต่อมาในรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 ได้ทรงฟื้นฟูพระราชพิธีนี้ขึ้นมาอีกครั้ง 

3 ความเชื่อ ใส่อะไรลงไปในกระทงได้บ้าง

  • การใส่เงินในกระทง

ในสมัยอยุธยา เชื่อว่าการใส่เศษสตางค์ลงในกระทงเป็นการทำบุญสะเดาะเคราะห์ แต่ปัจจุบันเชื่อกันว่าจะทำให้ร่ำรวย มีเงินทองไหลมาเทมาตลอดปี

  • การใส่เส้นผมและเล็บในกระทง

เชื่อว่าเป็นการทำให้เคราะห์ร้ายหรือสิ่งไม่ดีลอยออกไปจากตัวเรา จะมีสิ่งดีๆ เข้ามาแทนที่

  • การใส่อาหารลงในกระทง

ชาวจีน เชื่อว่าเป็นการเซ่นไหว้ภูตผีที่อยู่ในแม่น้ำ เนื่องจากจะมีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ

โปรดอ่านเพิ่มเติม ตรวจสอบลิงค์นี้ ประวัติวันลอยกระทง กับเรื่องราวความเชื่อว่าใส่อะไรลงไปในกระทงแล้วจะปัง…

, ผู้ที่มีความสามารถประดิษฐ์คิดค้นกระทง เป็นคนแรก คือใคร – เราเป็นกลุ่มเพื่อนที่รักการเขียนและแบ่งปันเรื่องราวของเรา เราผ่านอะไรมาด้วยกันมากมาย และเราต้องการแบ่งปันประสบการณ์ของเรากับคนทั้งโลก เราหวังว่าเรื่องราวของเราจะสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้อื่นได้ใช้ชีวิตที่ดีที่สุด

“วิถีใหม่” ของประเพณีเก่า

โฆษกรัฐบาลย้ำถึงแนวทางและมาตรการการจัดประเพณีลอยกระทงวิถีใหม่ที่นายกฯ พูดถึงว่าผู้จัดต้องมีมาตรการ เช่น คัดกรองผู้เข้าร่วมงาน จัดพื้นที่เว้นระยะห่างทางสังคม ทำความสะอาดพื้นผิวสัมผัสก่อนและหลังการจัดงาน และทุกคนจะต้องสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาเข้าร่วมงาน ขณะเดียวกัน ต้องคำนึงถึงมาตรการด้านความปลอดภัยภายในงาน โดยห้ามปล่อยโคมลอย งดเล่นดอกไม้เพลิง พลุ ประทัด และรณรงค์ลอยกระทงปลอดเหล้า เพี่อให้ความมั่นใจกับประชาชนที่มาร่วมงาน

นับเป็นอีกครั้งที่ประเพณีเก่าแก่ดั้งเดิมของไทยต้องปรับสู่ “วิถีใหม่” เพื่อให้เข้ากับบริบทสังคมและสถานการณ์ในแต่ละปี ซึ่ง ผศ.คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ให้ความเห็นว่า การปรับตัวของประเพณีต่าง ๆ รวมถึงประเพณีลอยกระทงเป็นสิ่งที่เลี่ยงไม่ได้

ไม่เพียงแต่การปรับตัวตามสถานการณ์และสภาพแวดล้อมในแต่ละช่วง หากยังปรับเปลี่ยนไปตามความคิดต่อ “ความเป็นไทย” ที่เปลี่ยนไปด้วย

ผศ.คมกฤช อธิบายว่า ทุก ๆ ประเพณีใหญ่ของไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาตลอด ตามเงื่อนไขและบริบทในช่วงเวลานั้น อย่างกรณีของประเพณีสงกรานต์ ที่แต่เดิมการสาดน้ำไม่ได้เป็นแกนหลักของประเพณี แต่ในยุคปัจจุบันความสนุกสนานจากการสาดน้ำกลับถูกให้ความสำคัญมากที่สุด

ที่มาของภาพ, Thai News Pix

คำบรรยายภาพ,

เจ้าหน้าที่สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร ซักซ้อมการดูแลความปลอดภัยของประชาชนที่คาดว่าจะมาลอยกระทงริมแม่น้ำเจ้าพระยาจำนวนมากในวันลอยกระทง 19 พ.ย.

สำหรับประเพณีลอยกระทงที่หลายคนอาจไม่ได้ให้ความสำคัญเพราะไม่ได้ยึดโยงกับความเชื่อเรื่องพระแม่คงคา อีกหลายคนเลือกที่จะไม่ลอยกระทงเพราะไม่อยากเพิ่มขยะในแม่น้ำลำคลอง หรือในยุคโรคระบาดที่ผู้คนหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่มีผู้คนพลุกพล่าน แต่ ผศ.คมกริชก็เชื่อว่าลอยกระทงจะไม่หายไปง่าย ๆ เพราะเศรษฐกิจที่ต้องอาศัยการท่องเที่ยวจะสนับสนุนให้เทศกาลงานประเพณีหล่านี้ดำรงอยู่ต่อไป แต่ด้วยรูปแบบและจุดประสงค์ที่เปลี่ยนไป

“การปรับเป็นเรื่องบันเทิงเลย ก็อาจจะสูญเสียคุณค่าบางอย่างต่อชุมชน บางประเพณีมีคุณค่าในมิติจิตใจชุมชน แต่ไม่ใช่ทำไม่ได้ สุดท้ายต้องหาจุดลงตัวของการแสวงหาคุณค่าที่แท้จรองของประเพณี กับเรื่องของความบันเทิง”

“ประเพณีไม่หายไปหรอกแต่มันเปลี่ยน” นักวิชาการผู้สังเกตการณ์ความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมประเพณีไทยกล่าว

โปรดอ่านเพิ่มเติม ตรวจสอบลิงค์นี้ ประวัติวันลอยกระทงกับประเพณี “วิถีใหม่” ในยุคโควิด – BBC News ไทย…

คำสำคัญที่ผู้ใช้ค้นหาที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ %%%item_title%%% ผู้ที่มีความสามารถประดิษฐ์คิดค้นกระทง เป็นคนแรก คือใคร

N/A, เนื้อเพลง, เพลงแร๊ป, ปลายฝนต้นหนาว, ในวันที่ฝนพรำ, นานเท่านาน, บทร้าย, ยิ่งเกลียดยิ่งรัก, ปีใหม่ปีนี้, เคาท์ดาว, KT LONG, P. A. P BEATBAND, LEGENDBOY, STS 73, ເນື້ອເພງ, ເພງລາວໃຫມ່, ເພງໃຫມ່ລ່າສຸດ, ເພງດັງຕຶກຕ່ອກ, เพลงดังใน tiktok

.

โดยสรุปแล้ว Thailand Daily News และ Hot News Blog เป็นแหล่งข้อมูลที่ดีสำหรับผู้ที่สนใจติดตามข่าวสารล่าสุดเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศไทย บทความเขียนได้ดีและให้มุมมองที่หลากหลาย บล็อกข่าวเด่นมีประโยชน์อย่างยิ่งเพราะช่วยให้ผู้อ่านส่งเรื่องราวของตนเองได้ ทำให้เป็นทรัพยากรอันมีค่าสำหรับผู้ที่ต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประเทศไทยจากผู้คนที่อาศัยอยู่ที่นั่น

Two-Column Responsive Layout
Back to top button